Japanese Antiquarian Books about Tea 御茶に関する和古書

หนังสือเกี่ยวกับชาญี่ปุ่นครับ บางเล่มอายุเก่าเป็นร้อยปี ตัวอักษรคันจิที่เขียนยังเป็นแบบเก่า ไม่เหมือนตัวคันจิที่ใช้กันในญี่ปุ่นปัจจุบัน สังเกตว่าหนังสือเกี่ยวกับชาที่มีในภาษาอังกฤษ พออ่านไปเรื่อยๆเนื้อหาก็มักจะวนไปวนมา พอย้อนกลับมาดูหนังสือของเอเชีย โดยเฉพาะญี่ปุ่นกับจีน

อ่านต่อ

” Rooibos ชาจากแอฟริกาใต้ “

นอกจากใบชาที่เรารู้จักกันดีว่ามีที่มาทั้งจากอินเดีย จีน และญี่ปุ่นแล้ว ยังมีชาอีกชนิดหนึ่งซึ่งรสชาติหอมกลมกล่อมไม่แพ้กัน หากแต่สายพันธุ์กลับต่างกันกับชา “จริง” อย่างสิ้นเชิง นั่นคือชา Rooibos (อ่านว่า รอย-บอส) อันมีถิ่นกำเนิดมาจากแอฟริกาใต้ มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Aspalathus linearis

อ่านต่อ

ไผ่สึสึดาเกะ (煤竹)

ในสมัยก่อน บ้านญี่ปุ่นจะเป็นบ้านแบบหลังคาทำจากฟางหนาๆแบบที่เห็นตามเมือง Shiragawako โดยเพดานจะถูกทำจากไม้ไผ่ นำมามัดรวมๆกันเป็นแพ และปูลาดเป็นผืนยาว อย่างที่เห็นในรูป นอกจากนี้ บ้านคนญี่ปุ่นสมัยก่อน จะมีหม้อไฟ หรือเรียกว่า อิโนริ (囲炉裏) มีลักษณะเป็นหม้อแขวนลง

อ่านต่อ

สูตร ” Tea Squash “

วัตถุดิบ
1. ใบชาฝรั่ง 8 กรัม (ชาอัสสัมหรือดาร์จีลิ่ง)
2. น้ำเดือด 100 ml
3. โซดา 100 ml
4. น้ำส้มคั้น ผสมน้ำเกรปฟรุต 30 ml

อ่านต่อ

ใบของต้นชาพันธุ์อะสะฮิ あさひ Asahi

เป็นพันธุ์พื้นเมืองของอุจิ เกียวโต เหมาะสำหรับทำเกียวขุโระ และมัทฉะ

ที่ญี่ปุ่นจะไม่มีการใช้พันธุ์ยะบุขิตะทำเกียวขุโระและมัทฉะ เพราะมีรสชาติขม เหมาะสำหรับทำเซนฉะเพียงอย่างเดียว

อ่านต่อ

“เยิรเงาสลัว” ความงามแบบตะวันออก

In Praise of Shadows (แปลเป็นภาษาไทยในชื่อ “เยิรเงาสลัว” โดย openbooks) ของ ทะนิสะกิ จุนอิจิโระ หนังสือเล่มนี้กล่าวถึงความงามแบบตะวันออกได้อย่างน่าสนใจเลยทีเดียว

อ่านต่อ

หลักของการทำ Cold Brew

1. Cold brew โคลด์บรูว์ คือการสกัดเย็น ปกติเราใช้นำร้อนชงชากันใช่มั้ยครับ? แต่ cold brew จะใช้น้ำเย็น คือสามารถใช้ได้ทั้งน้ำที่อุณหภูมิห้อง คือราว 20+ องศา หรือจะใช้น้ำเย็น 5-15 องศาก็ได้
.

อ่านต่อ

Chrysanthemum Tea ชาดอกเก๊กฮวย

เก๊กฮวยเป็นพืชชนิดหนึ่งในตระกูลดอกเบญจมาศ ดอกเบญจมาศมีหลายชนิด หนึ่งในนั้นคือเก็กฮวย มีถิ่นกำเนิดอยู่ที่จีนและญี่ปุ่น โดยที่เมืองจีน ดอกเก๊กฮวยถูกจดจำในฐานะชาดอกไม้ เพราะมีการดื่มเก๊กฮวยเป็นชามานานกว่า 2,000 ปีแล้ว ส่วนในญี่ปุ่น

อ่านต่อ