ก่อนชงมัทฉะทุกครั้ง…ควร
ก่อนชงมัทฉะทุกครั้ง…ควร
1. เทน้ำร้อนลงในถ้วยชา
2. นำ “ฉะเซ็น” มาตีน้ำร้อนเบาๆ
3. เทน้ำร้อนทิ้ง แล้วเช็ดภายในถ้วยให้แห้งด้วยผ้าสะอาด
ก่อนชงมัทฉะทุกครั้ง…ควร
1. เทน้ำร้อนลงในถ้วยชา
2. นำ “ฉะเซ็น” มาตีน้ำร้อนเบาๆ
3. เทน้ำร้อนทิ้ง แล้วเช็ดภายในถ้วยให้แห้งด้วยผ้าสะอาด
“ชาดาร์จีลิ่ง” (Darjeeling tea) คือชาที่มีชื่อเสียงมากอีกชนิดหนึ่งของอินเดีย มีพื้นที่ปลูกอยู่ที่เมืองดาร์จีลิ่ง ในรัฐเวสต์เบงกอล ใกล้ๆกับเทือกเขาหิมาลัย ปัจจุบันมีไร่ชาประมาณ 85 แห่ง
อิชิอุสุ มีประวัติศาสตร์ยาวนานกว่า 1400 ปี สมัยก่อน คนญี่ปุ่นแทบทุกครัวเรือนจะมีอิชิอุสุไว้ใช้ ทั้งบดเมล็ดข้าวเพื่อนำแป้งไปทำเส้นอุด้ง หรือบดถั่วเหลืองเพื่อนำไปทำเต้าหู้ โดยใส่อาหารที่ต้องการบดที่รูด้านบน แล้วหมุนครกไปมา ให้หินสองก้อนเสียดสีกัน
ชาที่นำมาทำชานม(Milk Tea) จะต้องมีคุณสมบัติดังต่อไปนี้
1. มีรสและกลิ่นของ “ชา” เข้มข้นพอสมควร เพราะเมื่อเทนมลงไปแล้ว กลิ่นและรสของนมจะได้ไม่ไปกลบกลิ่นและรสของชา
“นัตสึเมะ” (棗: Natsume) คือภาชนะสำหรับใส่ “มัทฉะแบบอ่อน” (薄茶) ถูกตั้งชื่อเช่นนี้เพราะมีรูปร่างคล้ายผล “นัตสึเมะ” หรือ “พุทราจีน” ในภาษาไทย วิธีการใช้นัตสึเมะคือ ผู้มีหน้าที่ชงชาใน Japanese Tea Ceremony จะต้องนำมัทฉะมาร่อนด้วยตะแกรงใส่นัตสึเมะ
“ชาอัสสัม” (Assam Tea) คือชาดำ ที่ถูกปลูกขึ้นในรัฐอัสสัม ประเทศอินเดีย มีรสและกลิ่นของชาค่อนข้างเข้ม นิยมนำไปเบลนด์เป็น English Breakfast หรือผสมนม ชงเป็น milk tea
“อนุมูลอิสระ” (Free Radical) คือ อะตอมที่มีอิเล็กตรอนเดี่ยว เมื่อวิ่งไปชนกับโมเลกุลใดๆ โมเลกุลนั้นก็จะสูญเสียอิเล็กตรอนของมันเอง เกิดเป็นอนุมูลอิสระตัวใหม่ไปเรื่อยๆ ไม่รู้จบ
ใบชาโดยปกติแล้วจะสามารถเก็บไว้ได้ไม่เกิน 1 ปี นับจากวันที่ซื้อ หากเกินนั้นรสของชาจะค่อยๆจางไปจนไม่เหลือกลิ่น ซึ่งยิ่งหากเก็บไม่ถูกวิธี กลิ่นของชาก็อาจจางลงได้ในระยะเวลาแค่ 3 เดือน สิ่งสำคัญในการเก็บรักษาใบชาคือจะทำอย่างไรให้กลิ่นของชาคงอยู่ได้
ในการชงชาฝรั่งนั้นแม้อาจไม่ได้มีพิธีรีตองอย่างเช่นการดื่มชาในจีนหรือญี่ปุ่น แต่การจะชงชาฝรั่งด้วยอุณหภูมิที่เหมาะสมให้ได้กลิ่นและรสที่พอดี รวมถึงการดื่มด่ำในรสชาติพร้อมของเคียงและบรรยากาศที่ลงตัวก็มีข้อแนะนำมาให้ลองทำกันอยู่หลายข้อ: