“เกียวขุโระ” ชาที่ดีที่สุดของญี่ปุ่น

เกียวขุโระ (玉露: Gyokuro) ถือเป็นชาที่ดีที่สุด ในหมวดหมู่ชาเขียว เพราะต้องผ่านการประคบประหงมด้วยขั้นตอนยุ่งยากมากมาย กว่าจะได้ใบชามาชงเสิร์ฟเป็นชาร้อนๆ

อ่านต่อ

“เทนฉะ” ต้นกำเนิดของ “มัทฉะ”

คราวก่อนเรารู้จักกับ “ชาเกียวขุโระ” หรือ “เกียวขุโระฉะ” กันไปแล้ว (ในภาษาญี่ปุ่น คำว่า ชา ออกเสียงว่า ฉะ) คราวนี้ผมจะพาเราไปรู้จักกับ “เทนฉะ” กันครับ

อ่านต่อ

ว่าด้วยชาอุจิ 宇治茶に関してต้นกำเนิด ชาเขียว มัทฉะ

หลายสัปดาห์ก่อนสัญญาไว้ว่าจะนำเรื่องราวเกี่ยวกับชาอุจิมาเขียนให้ได้อ่านกัน หลังจากสะสางธุระปะปังรวมทั้งงานหลายอย่าง วันนี้มีเวลาว่างมาเขียนให้ได้อ่านกันแล้วครับ อาจจะยาวไปสักนิดหนึ่ง หากไม่มีเวลาอ่านตอนนี้ แชร์ไว้อ่านวันหลังกันก็ได้ครับ
.

อ่านต่อ

Wuyi Jin Jun Mei 武夷金骏眉

ชาจากอู่อี๋ซานกำลังทยอยเดินทางมาถึงครับ ตัวแรกนี้เป็นจินจวิ้นเหมย ช่วงก่อนปีใหม่ผมเขียนบทความเรื่องเกาซานจินจวิ้นเหมย 高山金骏眉 กับผิงตี้จินจวิ้นเหมยไป 平地金骏眉 โดยอ้างอิงจากหนังสือของเจิ้งซานถาง 正山堂 ผู้ผลิตจินจวิ้นเหมยเป็นเจ้าแรก

อ่านต่อ

สวัสดีครับ ผมชื่อ “โกะโค” 五香 มาจากเกียวโตครับ 🌱🌱🍵

ใกล้ๆกับอำเภออุจิ จังหวัดเกียวโต ห่างไปสัก 2-3 กิโลเมตร คืออำเภอเคียวตะนะเบะ เป็นแหล่งปลูกเกียวขุโระชั้นดี ที่นี่จะเด็ดยอดต้นชาด้วยมือเท่านั้น จากนั้นจึงนำไปทำเป็นชาแห้งโดยใช้เครื่องจักร ที่มีมนุษย์ควบคุมอยู่ทุกขั้นตอน

อ่านต่อ

ประวัติของชาอุจิ 宇治茶に関して

หลายๆท่านที่เคยลิ้มรสชาญี่ปุ่น หรือเป็นคอมัทฉะ ไม่ว่าจะมัทฉะเพียวๆชงในถ้วยชาใบโต หรือมัทฉะลาเต้เย็นๆครีมข้นๆในแก้วพลาสติกใบใส อาจจะคุ้นหูหรือเคยได้ยินคำว่า ชาอุจิ กันมาบ้าง บางท่านอาจรู้ลึกทราบว่าชาอุจิก็คือชาที่มาจากจังหวัดเกียวโต

อ่านต่อ

ตำนานของ ชาอู่หลง เถี่ยกวนอิน : The Story of Tie Guan Yin

ในจำนวนชาสุดคลาสสิคจากเมืองจีนทั้งหมด เถี่ยกวนอินจัดได้ว่าเป็นชาอันดับต้นๆที่คนมักจะพูดถึง ด้วยเอกลักษณ์ที่มีความหอมฟุ้ง คละเคล้ากันระหว่างกลิ่นชาและกลิ่นดอกไม้ ซึ่งเป็นผลมาจากสายพันธุ์ต้นชาและกรรมวิธีการผลิต น้ำชาที่ชงออกมามีสีเขียวอ่อนใส

อ่านต่อ

Mandarin Peel 陳皮

เปลือกส้มถูกใช้ในเมืองจีนในฐานะเครื่องปรุงรสและยาแพทย์แผนจีนมาเป็นระยะยาวนานกว่าหนึ่งพันปี เมื่อนำไปชงกับน้ำร้อน เปลือกส้มจะให้รสที่หวานเด่น ตามด้วย aftertaste ที่เจือความฝาดและขมอ่อนๆ

อ่านต่อ

ชาเบลนด์ Rising Sun 朝日

ในจำนวนชาหลากหลายตัวที่เบลนด์ออกมา บางตัวเกิดจากความผิดพลาดระหว่างการทดลองตอนคิดค้นสูตร ซึ่งพอนำมาลองจำหน่าย กลับกลายเป็นว่าผลตอบรับดีกว่าที่คิดไว้มาก

อ่านต่อ