Skip to content
ผู้ดื่มชาหลายท่านคงจะทราบกันดีแล้วว่า ชาเขียว ต่างจากชาดำตรงที่ไม่ผ่านการหมัก ซึ่งหลังจากที่ใบชาถูกเก็บเกี่ยวแล้ว โดยธรรมชาติ การหมักมักจะเริ่มกระบวนการทันที ยิ่งถ้าใบชาที่ถูกเด็ดทับถมกันเป็นจำนวนมาก บวกกับถ้าใบชาบอบช้ำระหว่างการเก็บ
อ่านต่อ
ที่ญี่ปุ่น มีเรื่องเล่าว่า ขนมไดฟุกุ มาจากขนมชนิดหนึ่งเรียกว่า “อุซึระโมจิ” (鶉餅:うずらもち) หรือ “โมจินกกระทา” เพราะมีชิ้นใหญ่ ยาว และรูปร่างเหมือนนก
อ่านต่อ
จวบจนเข้าสู่ยุคมุโระมะจิ ศตวรรษที่สิบห้า พระญี่ปุ่นนามมุราตะ จุโค เห็นว่าการนำชาเป็นเครื่องมือแสดงถึงความหรูหรา ฟุ้งเฟ้อแบบชนชั้นสูงนั้นเป็นเรื่องไม่สมควร จึงนำพิธีกรรมการชงชามาสร้างแบบแผนใหม่ จุดนี้เองที่การชงชาถูกพัฒนามาเป็นพิธีชงชา
อ่านต่อ
“ชาเริ่มสถานะจากการเป็นยาไปสู่การเป็นเครื่องดื่ม ที่เมืองจีน ในศตวรรษที่แปด ชาเข้าสู่อาณาจักรแห่งบทกวีจากการเป็นหนึ่งในมหรสพอันนอบน้อม ศตวรรษที่สิบห้าเป็นประจักษ์พยานแก่การยกสถานะของชาโดยญี่ปุ่นขึ้นสู่ลัทธิแห่งสุนทรียนิยม
อ่านต่อ
สันนิษฐานกันว่าชาถูกนําเข้ามายังประเทศญี่ปุ่นตั้งแต่ต้นศตวรรษที่เก้า ในสมัยแรกเริ่มของยุคเฮอัน ผ่านทางพระญี่ปุ่นผู้เดินทางไปร่ําเรียนพระพุทธศาสนาที่ประเทศจีน
อ่านต่อ
“…โดยความหมายทั่วไปแล้ว ปรัชญาแห่งชานั้นไม่ได้เป็นเพียงสุนทรีนิยม กล่าวคือ เป็นสิ่งที่อธิบายมุมมองของพวกเราต่อมนุษย์และธรรมชาติ ซึ่งประสานกันได้ดีกับจริยธรรมและศาสนา ดังที่ซะโดได้สอนถึงความสะอาดอย่างเคร่งครัดอันเป็นส่วนหนึ่งของศาสตร์
อ่านต่อ
“ทะคะโฮะ” 高穂 ฉะเซ็นอันแรกบนโลก
เมื่อวานผมไปเยี่ยมคุณคุโบะ ซะบุน (久保左文) ช่างฝีมือฉะเซ็น ที่จังหวัดนารา ประเทศญี่ปุ่น เลยได้ฟังเรื่องราวเกี่ยวกับฉะเซ็นเพิ่มเติมมากขึ้น ฉะเซ็นทางด้านขวามือในรูป มีชื่อว่า “ทะคะโฮะ” เขียนเป็นตัวคันจิได้ว่า 高穂 โดยตัว 高 นั้นแปลได้ว่าสูงส่ง
อ่านต่อ
สูตร Spicy Milk Tea
วัตถุดิบ (ส่วนผสมหลัก)
1. นม 500 cc
2. ใบชาอัสสัม 10 กรัม
3. น้ำตาลเล็กน้อย
4. อบเชย สำหรับตกแต่ง
อ่านต่อ
” เกียวโต ” เมืองหลวงของ ” มัทฉะ ”
ชาจากเกียวโต จะถูกเรียกว่า “ชาอุจิ” (宇治茶) เพราะปลูกในเมืองที่ชื่อว่า “เมืองอุจิ” (宇治市) ซึ่งเป็นเมืองเล็กๆทางใต้ของจังหวัดเกียวโต ทั้งนี้ ภาพลักษณ์ของชาอุจิ
อ่านต่อ
Go to Top
error: Content is protected !!