“อนุมูลอิสระ” (Free Radical)

“อนุมูลอิสระ” (Free Radical) คือ อะตอมที่มีอิเล็กตรอนเดี่ยว เมื่อวิ่งไปชนกับโมเลกุลใดๆ โมเลกุลนั้นก็จะสูญเสียอิเล็กตรอนของมันเอง เกิดเป็นอนุมูลอิสระตัวใหม่ไปเรื่อยๆ ไม่รู้จบ

วิธีเก็บรักษาใบชาให้อยู่ได้นาน

ใบชาโดยปกติแล้วจะสามารถเก็บไว้ได้ไม่เกิน 1 ปี นับจากวันที่ซื้อ หากเกินนั้นรสของชาจะค่อยๆจางไปจนไม่เหลือกลิ่น ซึ่งยิ่งหากเก็บไม่ถูกวิธี กลิ่นของชาก็อาจจางลงได้ในระยะเวลาแค่ 3 เดือน สิ่งสำคัญในการเก็บรักษาใบชาคือจะทำอย่างไรให้กลิ่นของชาคงอยู่ได้

Tip 8 ข้อ สำหรับการชงชาฝรั่งและดื่มด่ำในรสชาติ

ในการชงชาฝรั่งนั้นแม้อาจไม่ได้มีพิธีรีตองอย่างเช่นการดื่มชาในจีนหรือญี่ปุ่น แต่การจะชงชาฝรั่งด้วยอุณหภูมิที่เหมาะสมให้ได้กลิ่นและรสที่พอดี รวมถึงการดื่มด่ำในรสชาติพร้อมของเคียงและบรรยากาศที่ลงตัวก็มีข้อแนะนำมาให้ลองทำกันอยู่หลายข้อ:

อุณหภูมิของน้ำกับการชงชา

ใบชาประเภทต่างๆ มีสารอาหารอยู่ในปริมาณที่แตกต่างกัน ขึ้นอยู่กับกรรมวิธีการผลิต ซึ่งสารอาหารเหล่านี้นี่เอง ที่เป็นตัวกำหนด “รสชาติ” ของชา เช่น ชาที่มีกรดอะมิโนเยอะ ก็จะมีรสกลมกล่อม ชาที่มีสารแคทิซินเยอะ ก็จะมีรสฝาด และขม เป็นต้น

การเลือกน้ำแร่สำหรับการชงชา

ในการเลือกน้ำสำหรับใช้ชงชา ปกติแล้วสามารถใช้น้ำขวดธรรมดาแบบที่วางขายทั่วไป นำมาต้มให้เดือดก็เป็นอันใช้ได้ แต่บทความนี้ จะพูดถึงเฉพาะเรื่องการใช้น้ำแร่ครับ เพราะชนิดของน้ำแร่มีผลต่อรสของชาที่แตกต่างกัน ดังนั้น ข้อเท็จจริงเรื่องน้ำแร่ชนิดไหนจะชงชาออกมาได้รสอย่างไร

“โฮจิฉะ” (ほうじ茶: Hōjicha ) หรือ “ชาเขียวคั่ว”

“โฮจิฉะ” (ほうじ茶: Hōjicha ) หรือ “ชาเขียวคั่ว” ถูกผลิตโดยการนำใบชาเขียวที่เหลือจากกระบวนการผลิตชาเขียวประเภทอื่นๆไปคั่ว ทำให้มีกลิ่นหอมไหม้ ดื่มแล้วรู้สึกสดชื่น

***วิธีชงชาเย็น***

การชงชาเย็น ก็เหมือนกับการชงชาร้อน เพียงแต่ลดปริมาณน้ำร้อนให้เหลือเพียงครึ่งหนึ่งเท่านั้น แล้วเทชาที่ชง ลงในแก้วใส่น้ำแข็ง รอสักครู่ น้ำแข็งก็จะละลายเข้ากับชา กลายเป็นชาเย็น วิธีนี้ มีข้อดีกว่าการชงชาทิ้งไว้แล้วปล่อยให้เย็น

ว่าด้วยเรื่องของฉะเซ็น…ตอนที่ 3 วิธีเก็บรักษาฉะเซ็น

ฉะเซ็นทำจากไม้ไผ่ ก่อนใช้ควรนำมาจุ่มในน้ำอุ่น เสมือนเป็นการอุ่นเครื่องฉะเซ็น ก่อนนำไปตีมัทฉะ …และหลังจากใช้เสร็จ ก็ควรล้างฉะเซ็นด้วยน้ำสะอาดเบาๆ ให้ชาหลุด แล้วปล่อยให้แห้งตามธรรมชาติในที่โล่ง อากาศถ่ายเท เพราะไม่อย่างนั้นแล้วอาจเกิดการขึ้นราได้

พืชที่มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Camellia sinensis

ต้นชา คือพืชที่มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Camellia sinensis สามารถแบ่งออกได้เป็นสองสายพันธุ์ คือ ชาจีน (Camellia sinensis var. sinensis) และชาอัสสัม (Camellia sinensis var. assamica)

ว่าด้วยเรื่องของฉะเซ็น…ตอนที่ 1 รู้จักกับฉะเซ็น

“ฉะเซ็น” (茶筅: Chasen) หรือ “แปรงตีชา” เป็นอุปกรณ์ที่ขาดไม่ได้เลย ในพิธีชงชาญี่ปุ่น ฉะเซ็นทำมาจากไม้ไผ่ นำมาผ่าแล้วฝานออกเป็นซี่ๆ เป็นงานฝีมือที่ผู้ประดิษฐ์ต้องใช้ความละเอียดและความชำนาญสูง