ตามรอย ชาไทย บ้านแม่ขะจาน

การนำใบจากต้นเหมี้ยงมาผลิตเหมี้ยงนั้น จะใช้เฉพาะใบที่เจริญเติบโตเต็มที่แล้วเท่านั้น(แต่ก็ยังไม่ใช่ใบแก่) ซึ่งเป็นใบหนาใหญ่ นำมามัดเป็นกำ จากนั้นนำไปนึ่ง แล้วหมักโดยใช้แบคทีเรียแลคติกให้เกิดรสเปรี้ยว

“เซน โนะ ริคิว” (千利休) ผู้พัฒนาพิธีชงชาญี่ปุ่น

สำนักชงชาของญี่ปุ่นในปัจจุบัน ส่วนใหญ่สืบทอดมาจากผู้ที่เป็นลูกหลาน หรือไม่ก็ลูกศิษย์ของเซน โนะ ริคิว จากอดีตแทบทั้งสิ้น โดยสำนักที่ดังที่สุด คือสำนักที่สืบทอดพิธีการชงชามาจากลูกหลานของเซน โนะ ริคิว โดยตรง สำนักที่ว่านี้ ถูกเรียกโดยรวมว่า “ซันเซนเกะ” (三千家)

” ครั้งหนึ่งในชีวิต ” ปรัชญาในการทุ่มเทของคนญี่ปุ่น

ที่ญี่ปุ่น…จะมีคำอยู่คำหนึ่ง เขียนด้วยตัวอักษรคันจิสี่ตัว ถือเป็นคำมงคลที่พบเห็นได้บ่อยในประเทศญี่ปุ่น คำๆนั้นคือคำว่า 一期一会 อ่านออกเสียงว่า ” อิจิโกะ อิจิเอะ ” แปลเป็นภาษาอังกฤษได้ว่า “Once in a Lifetime” หรือ “ครั้งหนึ่งในชีวิต”

ฉะชะขุ…สัญลักษณ์ของความเรียบง่าย

เอกลักษณ์ของช้อนไม้ไผ่ “ฉะชะขุ” คือความเรียบง่าย สังเกตได้จากรูปทรงที่ทำจากไม้ไผ่ที่มีความเรียว ยาว มีส่วนปลายด้านหนึ่งโค้งงอเข้ามา ทำหน้าที่เป็นช้อน ฉะชะขุเองก็เหมือนกับฉะเซ็น หรือแปรงตีชา ที่ได้รับอิทธิพลมาจากพุทธศาสนานิกายเซน อันเป็นแนวคิดที่ทรงอิทธิพลต่อศิลปะญี่ปุ่นเกือบทั้งมวล

Lapsang Souchong บรรพบุรุษของชา Earl Grey “

เมื่อ Earl Grey นายกรัฐมนตรีของอังกฤษ ได้รับชาแลปซาง ซูชองจากทูตจีนคนนึง ก็เกิดติดใจ จึงสั่งให้ร้านชาร้านหนึ่งพยายามเบลนด์ชาออกมาให้ได้รสและกลิ่นเหมือนชาดังกล่าว แต่เนื่องจากลำไยเป็นพืชที่หาได้ยากในตะวันตก

ขึ้นดอยเมาคง ไปดูชาเถี่ยกวนอินกันครับ

วันก่อน ผมกับปี้หลิง ลูกสาวคนโตของอาจารย์ฉือเย่าเหลียง (อาจารย์ตงฟางเหม่ยเหรินชื่อดังท่านนั้น) ขึ้นดอยเมาคงเพื่อไปดูชา เถี่ยกวนอิน กันครับ
ฝนตกทั้งวัน นั่งกระเช้าไฟฟ้าขึ้นดอย อยู่ท่ามกลางเมฆหมอก บางช่วงที่กระเช้าลอยห่างจากสันเขาไม่มาก ก็จะเห็นไร่ชาเถี่ยกวนอินไร่เล็กๆสลับกันอยู่เป็นที่ๆ

” ปรัชญาของชา “

ปรัชญาของชามิได้เป็นเพียงสุนทรียนิยมในแง่ของความหมายที่ยอมรับกันโดยดาษดื่น เพราะมันแสดงออกถึงมุมมองของเราทั้งหมดเกี่ยวกับมนุษย์และธรรมชาติอย่างสอดคล้องกันระหว่างจริยธรรมและศาสนา

เล่าเรื่องชา ที่อัสสัมกับอังกฤษ

ช่วงแรกๆที่อังกฤษเริ่มผลิต ชาที่อัสสัม เอง มีการทดลองใช้กระจกสีต่างๆในห้องหมักชา แต่ก็พบว่าสีของกระจกไม่มีผลต่อการหมัก ต่อมาจึงทดลองหมักชาไว้บนพื้นผิววัสดุต่างๆ เช่น ไม้ กระจก เหล็ก หญ้า พลาสติก อลูมิเนียม แต่พบว่าพื้นผิวที่ดีที่สุดคือหมักชาบนพื้นซีเมนต์ เพราะพื้นซีเมนต์มีความเย็น ทั้งยังดูดซึมความชื้น

ฉาชี่ (茶氣) คืออะไร?

เมืองจีน ถือว่าฉาชี่ ก่อให้เกิดอาการต่างๆในร่างกายคนแตกต่างกันไป หมายความว่า ถึงจะเป็นชาตัวเดียวกัน แต่หากต่างคนดื่ม แต่ละคนก็จะมีอาการแตกต่างกันออกไป หรือถึงเป็นคนเดียวกัน แต่ถ้าหากดื่มในต่างเวลา ต่างสถานที่ ต่างสภาพแวดล้อม ก็จะก่อให้เกิดอาการที่แตกต่างกัน