ประวัติของชาอุจิ 宇治茶に関して

หลายๆท่านที่เคยลิ้มรสชาญี่ปุ่น หรือเป็นคอมัทฉะ ไม่ว่าจะมัทฉะเพียวๆชงในถ้วยชาใบโต หรือมัทฉะลาเต้เย็นๆครีมข้นๆในแก้วพลาสติกใบใส อาจจะคุ้นหูหรือเคยได้ยินคำว่า ชาอุจิ กันมาบ้าง บางท่านอาจรู้ลึกทราบว่าชาอุจิก็คือชาที่มาจากจังหวัดเกียวโต

ตำนานของ ชาอู่หลง เถี่ยกวนอิน : The Story of Tie Guan Yin

ในจำนวนชาสุดคลาสสิคจากเมืองจีนทั้งหมด เถี่ยกวนอินจัดได้ว่าเป็นชาอันดับต้นๆที่คนมักจะพูดถึง ด้วยเอกลักษณ์ที่มีความหอมฟุ้ง คละเคล้ากันระหว่างกลิ่นชาและกลิ่นดอกไม้ ซึ่งเป็นผลมาจากสายพันธุ์ต้นชาและกรรมวิธีการผลิต น้ำชาที่ชงออกมามีสีเขียวอ่อนใส

Mandarin Peel 陳皮

เปลือกส้มถูกใช้ในเมืองจีนในฐานะเครื่องปรุงรสและยาแพทย์แผนจีนมาเป็นระยะยาวนานกว่าหนึ่งพันปี เมื่อนำไปชงกับน้ำร้อน เปลือกส้มจะให้รสที่หวานเด่น ตามด้วย aftertaste ที่เจือความฝาดและขมอ่อนๆ

รากของต้นชาอัสสัม

ในเรื่องของสายพันธุ์ของต้นชา จริงๆแล้วภาคเหนือตอนบนของประเทศไทยมีต้นชาอยู่มากมาย ต้นชาแบบแรกคือต้นชาสายพันธุ์พื้นเมือง

ชาพันธุ์ซื่อจี้ชุน (สี่ฤดู 四季春)

บนดอยแม่สลอง ช่วงแรกจะปลูกพันธุ์ชิงชิน จากนั้นก็นำจินเชวียนเข้ามา แล้วก็หร่วนจือ จากนั้นก็ซื่อจี้ชุน แต่ปัจจุบันพันธุ์ชิงชินไม่มีการผลิตแล้ว เนื่องจากผลผลิตน้อย

เจิ้งซานเสียวจ่ง

ว่าด้วย ชาจีน เจิ้งซานเสียวจ่ง และแลปซางซูชอง ชาดำตัวแรกของโลก

เมื่อมีการกล่าวถึงชาดำที่ถูกผลิตขึ้นมาเป็นตัวแรกของโลก ชื่อของแลปซางซูชอง (Lapsang Souchong) มักปรากฏให้เห็นอยู่บ่อยๆเสมอ ว่ากันว่าชาดำตัวนี้เกิดขึ้นจากการที่กองทหารในยุคหมิง