ประวัติศาสตร์ของ ชาดำ : World of Black Tea

ช่วงที่ผ่านมาผมหาหนังสืออ่านเกี่ยวกับประวัติศาสตร์ของชาดำที่เขียนเป็นภาษาญี่ปุ่น เพราะอยากรู้ว่าญี่ปุ่นจะเขียนเรื่องนี้ไว้ว่าอย่างไร หนังสือเล่มนั้นมีชื่อว่า 一杯の紅茶の世界史 เนื้อหาที่เขียนไว้กล่าวถึงต้นกำเนิดของชาดำเหมือนกันกับหนังสือของจีนอย่างไม่ผิดเพี้ยน คือช่วงต้นศตวรรษที่ 17

ชาอู่หลง จากพื้นที่ปลูกชาที่สูงที่สุดบนโลก

ในไต้หวัน มีกฏเกณฑ์กำหนดว่า ชาที่จะเรียกได้ว่าเกาซานฉา จะต้องปลูกบนพื้นที่สูงจากระดับน้ำทะเล 1,000 เมตรขึ้นไป มีตั้งแต่อาหลีซาน ลี่ซาน ซานหลินซี โดยพื้นที่ที่สูงที่สุด คือโฝโส่วซาน และต้าหยูหลิ่ง ซึ่งมีพื้นที่ปลูกชาสูงตั้งแต่ 2,500 เมตร ไปจนถึง 2,700 เมตร เป็นพื้นที่ปลูก ชาอู่หลง ที่สูงที่สุดบนโลกของเรา

คุณภาพของ ชา ตอนที่ 1 : บอดี้ของ ชา

ชาที่มีบอดี้ คือ ชา ที่มีเนื้อ คำว่ามีเนื้อนี้หมายความว่าเวลาดื่มน้ำชาเข้าไปแล้วจะสัมผัสได้ถึงความแน่นและความหนัก ในความเป็นจริงชาที่มีบอดี้ดีมากๆ เมื่อริมฝีปากได้สัมผัสกับน้ำชาครั้งแรกแล้วก็จะสัมผัสได้ถึงบอดี้ทันที เพราะน้ำมีความหนืด มีตัวตนที่รู้สึกได้ ไม่เบาหวิวเหมือนน้ำเปล่า บอดี้ของชาจะสัมผัสได้ดีที่สุดเมื่อน้ำชามีอุณหภูมิอยู่ที่ราว 50 องศาเซลเซียส

ข้อแตกต่างของ ชาเขียว กับชาประเภทอื่นๆ

ชาเขียวคือหนึ่งในชายอดนิยมที่มีผู้ดื่มทั่วโลก โดยยอดปริมาณการบริโภคชาเขียวในแต่ละปีบนโลกของเรา อยู่ที่ราว 600,000 ตัน มีประเทศจีนเป็นอันดับหนึ่ง โดยปริมาณการบริโภคชาเขียวในประเทศจีนนั้นคิดเป็นครึ่งหนึ่งของปริมาณที่บริโภคกันทั้งโลก ตามด้วยญี่ปุ่น บริโภคชาเขียวปีละ 80,000 ตัน (World Green Tea Association, 2022) ในส่วนของประเทศไทยนั้น เราก็สามารถผลิตชาเขียวเองได้

วิธีเก็บรักษาใบชา

ความรู้สำหรับการเก็บรักษาใบชา เป็นหนึ่งในความรู้พื้นฐานที่จำเป็นอย่างยิ่งสำหรับนักชงชามือเก่าและมือใหม่ มีหลายครั้งที่เราซื้อชามามากเกินไปและดื่มไม่หมดภายในช่วงเวลาที่เคยคิดไว้ ซึ่งเป็นเรื่องที่เกิดขึ้นได้เสมอทั้งคนที่เพิ่งเริ่มดื่มชา หรือดื่มมานานแล้ว

จักรวาลขนาดย่อม 小宇宙

เมื่อหลายร้อยปีก่อน สมัยที่ญี่ปุ่นเริ่มนำชาจากจีนเข้ามาดื่มนั้น ก็ได้นำเครื่องปั้นดินเผาเพื่อสำหรับใช้ในการดื่มชาเข้ามาด้วย ในยุคนั้นสิ่งของที่มาจากจีนถือว่าเป็นสิ่งล้ำค่า ด้วยว่านวัตกรรมของจีนในยุคนั้นต่างเหนือกว่าประเทศในแถบเอเชียทั้งสิ้น

ชาเขียวญี่ปุ่น ปลูก ณ ที่แห่งใด

“ชาชิซึโอกะ” (静岡茶: Shizuokacha) จากจังหวัดชิซึโอกะ มีพื้นที่ปลูกเป็นอาณาเขตกว้างขวางที่สุด เนื่องจากอยู่ใกล้ฟูจิ พื้นที่บริเวณนั้นจึงอุดมไปด้วยแร่ธาตุจากภูเขาไฟ

ยอดแรกแห่งฤดูกาล

นอกจากในเมืองจีนแล้ว ก็ยังมีวัฒนธรรมนิยมชมชอบใบชารอบแรกของปีในญี่ปุ่นอยู่เช่นกัน ใบชาที่เก็บได้รอบแรกนี้ถูกเรียกว่าอิจิบันฉะ หมายถึงใบชาที่ถูกเก็บในรอบที่หนึ่งของปี ต้นชาสายพันธุ์ควบคุมที่ใช้เป็นมาตรฐานในการวัดคุณภาพของสายพันธุ์อื่นคือพันธุ์ยะบุขิตะ หากสายพันธุ์ใดมีการแตก

“เท็ตสึบิน” (鉄瓶: Tetsubin)

คือ “กาน้ำชาเหล็ก” มีประวัติยาวนานกว่า 400 ปี ชาวญี่ปุ่นนิยมใช้กาน้ำชาเหล็กต้มน้ำสำหรับดื่มชา โดยมีผลวิจัยจากศูนย์วิจัยน้ำประจำจังหวัดชิซุโอกะ(Shizuoka)สนับสนุนว่า…เมื่อนำน้ำไปต้มในกาเหล็ก