วิถีแห่งชา

“ชาเริ่มสถานะจากการเป็นยาไปสู่การเป็นเครื่องดื่ม ที่เมืองจีน ในศตวรรษที่แปด ชาเข้าสู่อาณาจักรแห่งบทกวีจากการเป็นหนึ่งในมหรสพอันนอบน้อม ศตวรรษที่สิบห้าเป็นประจักษ์พยานแก่การยกสถานะของชาโดยญี่ปุ่นขึ้นสู่ลัทธิแห่งสุนทรียนิยม

ชา-ญี่ปุ่นในยุคแรกเริ่ม

สันนิษฐานกันว่าชาถูกนําเข้ามายังประเทศญี่ปุ่นตั้งแต่ต้นศตวรรษที่เก้า ในสมัยแรกเริ่มของยุคเฮอัน ผ่านทางพระญี่ปุ่นผู้เดินทางไปร่ําเรียนพระพุทธศาสนาที่ประเทศจีน

ปรัชญาแห่งชา

“…โดยความหมายทั่วไปแล้ว ปรัชญาแห่งชานั้นไม่ได้เป็นเพียงสุนทรีนิยม กล่าวคือ เป็นสิ่งที่อธิบายมุมมองของพวกเราต่อมนุษย์และธรรมชาติ ซึ่งประสานกันได้ดีกับจริยธรรมและศาสนา ดังที่ซะโดได้สอนถึงความสะอาดอย่างเคร่งครัดอันเป็นส่วนหนึ่งของศาสตร์

“ทะคะโฮะ” 高穂 ฉะเซ็นอันแรกบนโลก

“ทะคะโฮะ” 高穂 ฉะเซ็นอันแรกบนโลก

เมื่อวานผมไปเยี่ยมคุณคุโบะ ซะบุน (久保左文) ช่างฝีมือฉะเซ็น ที่จังหวัดนารา ประเทศญี่ปุ่น เลยได้ฟังเรื่องราวเกี่ยวกับฉะเซ็นเพิ่มเติมมากขึ้น ฉะเซ็นทางด้านขวามือในรูป มีชื่อว่า “ทะคะโฮะ” เขียนเป็นตัวคันจิได้ว่า 高穂 โดยตัว 高 นั้นแปลได้ว่าสูงส่ง

” เกียวโต ” เมืองหลวงของ ” มัทฉะ “

” เกียวโต ” เมืองหลวงของ ” มัทฉะ ”

ชาจากเกียวโต จะถูกเรียกว่า “ชาอุจิ” (宇治茶) เพราะปลูกในเมืองที่ชื่อว่า “เมืองอุจิ” (宇治市) ซึ่งเป็นเมืองเล็กๆทางใต้ของจังหวัดเกียวโต ทั้งนี้ ภาพลักษณ์ของชาอุจิ

ชื่อมงคลที่คนญี่ปุ่นนิยมนำมาตั้งเป็นชื่อ “ฉะชะขุ”

・徒然(สึเระซึเระ) แปลว่า “ว่างวาย”
・和やか(นาโกยะกะ) แปลว่า “อบอุ่น”
・聖(ฮิจิริ) แปลว่า “ศักดิ์สิทธิ์”
・無事(บุจิ) แปลว่า “นิรันดร์”