Skip to content
นับตั้งแต่เมล็ดพันธุ์ชาถูกนำเข้ามาปลูกในญี่ปุ่น คือช่วงก่อน ค.ศ. 1000 มาจนถึงทศวรรษ 1950 ต้นชาในญี่ปุ่นถูกปลูกด้วยการเพาะเมล็ดทั้งสิ้น ทว่าหลังจากมีการค้นพบพันธุ์ยะบุขิตะ ว่าให้ผลผลิตที่มีรสชาติดี (เหมาะสำหรับทำเซนฉะ) ต้นยะบุขิตะต้นแม่ ก็ถูกโคลนนิ่ง โดยวิธีการปักชำ จนต้นชาที่เกิดจากการปักชำจากต้นชาต้นแม่เพียงต้นเดียว ครอบคลุมพื้นที่ปลูกชากว่า 80% ของพื้นที่ทั้งหมด
อ่านต่อ
ในทางพฤกษศาสตร์ เชื่อกันว่าต้นชาที่มีอยู่หลากหลายสายพันธุ์ แท้จริงแล้วมีถิ่นกำเนิดอยู่ในแถบยูนนาน ไม่ใกล้ไม่ไกลจากไทย อยู่เหนือจากเชียงรายขึ้นไปนิดเดียว ซึ่งบรรพบุรุษของต้นชานี้ พอถูกลม ฝน นก สิงสาราสัตว์แพร่กระจายเมล็ดไปยังที่ต่างๆ ก็เกิดการวิวัฒนาการสายพันธุ์โดยปรับตัวไปตามสภาพแวดล้อมของแต่ละที่ที่เมล็ดแพร่พันธุ์ไป
อ่านต่อ
เป็นพันธุ์พื้นเมืองของอุจิ เกียวโต เหมาะสำหรับทำเกียวขุโระ และมัทฉะ
ที่ญี่ปุ่นจะไม่มีการใช้พันธุ์ยะบุขิตะทำเกียวขุโระและมัทฉะ เพราะมีรสชาติขม เหมาะสำหรับทำเซนฉะเพียงอย่างเดียว
อ่านต่อ
“ชาแดงฉีเหมิน” (Keemun) คือชาจากประเทศจีน ตั้งชื่อตามเมืองฉีเหมิน มณฑลอันฮุย มีกลิ่นหอมดอกไม้ คล้ายกลิ่นกล้วยไม้ มีคุณสมบัติช่วยทำให้รู้สึกสดชื่น
อ่านต่อ
“มากกว่าชา” เป็นสารคดีชนะเลิศรางวัลแว่นแก้วครั้งที่ 13 เป็นเสมือนบันทึกการใช้ชีวิตในประเทศญี่ปุ่นปีสุดท้ายของผู้เขียน เรื่องราวเริ่มต้นจากการที่ผู้เขียนมีความสนใจอยากเปิดร้านชาในเมืองไทยทำให้ผู้เขียนตัดสินใจสมัครเรียนชงชาที่ “สำนักอุระเซนกะ”
อ่านต่อ
“ชาดาร์จีลิ่ง” (Darjeeling tea) คือชาที่มีชื่อเสียงมากอีกชนิดหนึ่งของอินเดีย มีพื้นที่ปลูกอยู่ที่เมืองดาร์จีลิ่ง ในรัฐเวสต์เบงกอล ใกล้ๆกับเทือกเขาหิมาลัย ปัจจุบันมีไร่ชาประมาณ 85 แห่ง
อ่านต่อ
“ชาอัสสัม” (Assam Tea) คือชาดำ ที่ถูกปลูกขึ้นในรัฐอัสสัม ประเทศอินเดีย มีรสและกลิ่นของชาค่อนข้างเข้ม นิยมนำไปเบลนด์เป็น English Breakfast หรือผสมนม ชงเป็น milk tea
อ่านต่อ
หลายสัปดาห์ก่อนสัญญาไว้ว่าจะนำเรื่องราวเกี่ยวกับชาอุจิมาเขียนให้ได้อ่านกัน หลังจากสะสางธุระปะปังรวมทั้งงานหลายอย่าง วันนี้มีเวลาว่างมาเขียนให้ได้อ่านกันแล้วครับ อาจจะยาวไปสักนิดหนึ่ง หากไม่มีเวลาอ่านตอนนี้ แชร์ไว้อ่านวันหลังกันก็ได้ครับ
.
อ่านต่อ
ชาจากอู่อี๋ซานกำลังทยอยเดินทางมาถึงครับ ตัวแรกนี้เป็นจินจวิ้นเหมย ช่วงก่อนปีใหม่ผมเขียนบทความเรื่องเกาซานจินจวิ้นเหมย 高山金骏眉 กับผิงตี้จินจวิ้นเหมยไป 平地金骏眉 โดยอ้างอิงจากหนังสือของเจิ้งซานถาง 正山堂 ผู้ผลิตจินจวิ้นเหมยเป็นเจ้าแรก
อ่านต่อ
Go to Top
error: Content is protected !!