ตามรอย ชาไทย บ้านแม่ขะจาน

การนำใบจากต้นเหมี้ยงมาผลิตเหมี้ยงนั้น จะใช้เฉพาะใบที่เจริญเติบโตเต็มที่แล้วเท่านั้น(แต่ก็ยังไม่ใช่ใบแก่) ซึ่งเป็นใบหนาใหญ่ นำมามัดเป็นกำ จากนั้นนำไปนึ่ง แล้วหมักโดยใช้แบคทีเรียแลคติกให้เกิดรสเปรี้ยว

อ่านต่อ

” ครั้งหนึ่งในชีวิต ” ปรัชญาในการทุ่มเทของคนญี่ปุ่น

ที่ญี่ปุ่น…จะมีคำอยู่คำหนึ่ง เขียนด้วยตัวอักษรคันจิสี่ตัว ถือเป็นคำมงคลที่พบเห็นได้บ่อยในประเทศญี่ปุ่น คำๆนั้นคือคำว่า 一期一会 อ่านออกเสียงว่า ” อิจิโกะ อิจิเอะ ” แปลเป็นภาษาอังกฤษได้ว่า “Once in a Lifetime” หรือ “ครั้งหนึ่งในชีวิต”

อ่านต่อ

ฉะชะขุ…สัญลักษณ์ของความเรียบง่าย

เอกลักษณ์ของช้อนไม้ไผ่ “ฉะชะขุ” คือความเรียบง่าย สังเกตได้จากรูปทรงที่ทำจากไม้ไผ่ที่มีความเรียว ยาว มีส่วนปลายด้านหนึ่งโค้งงอเข้ามา ทำหน้าที่เป็นช้อน ฉะชะขุเองก็เหมือนกับฉะเซ็น หรือแปรงตีชา ที่ได้รับอิทธิพลมาจากพุทธศาสนานิกายเซน อันเป็นแนวคิดที่ทรงอิทธิพลต่อศิลปะญี่ปุ่นเกือบทั้งมวล

อ่านต่อ

ขึ้นดอยเมาคง ไปดูชาเถี่ยกวนอินกันครับ

วันก่อน ผมกับปี้หลิง ลูกสาวคนโตของอาจารย์ฉือเย่าเหลียง (อาจารย์ตงฟางเหม่ยเหรินชื่อดังท่านนั้น) ขึ้นดอยเมาคงเพื่อไปดูชา เถี่ยกวนอิน กันครับ
ฝนตกทั้งวัน นั่งกระเช้าไฟฟ้าขึ้นดอย อยู่ท่ามกลางเมฆหมอก บางช่วงที่กระเช้าลอยห่างจากสันเขาไม่มาก ก็จะเห็นไร่ชาเถี่ยกวนอินไร่เล็กๆสลับกันอยู่เป็นที่ๆ

อ่านต่อ

ประวัติศาสตร์ชา จากมุมมองของชาวยุโรป

ช่วงที่ 1 นั้นนับตั้งแต่พ่อค้าชาวดัทช์นำชาจากจีนเข้าไปขายยังอังกฤษปี 1610 ชาดำที่นำไปขายคือแลปซาง ซูชอง ทุกขั้นตอนการผลิตทำด้วยมือ การนำเข้าชาจากจีนพีคสุดๆในปี 1886 หลังจากนั้นยอดนำเข้าก็ค่อยๆลดลงเพราะอังกฤษสามารถปลูกชาได้ที่อินเดีย

อ่านต่อ

” คุณสมบัติของ ร้านขายชา ที่ดี “

“สถานที่เก็บชา” ต้องเป็นสถานที่ที่ไม่โดนแสงแดดส่องถึง และต้องมีความชื้นต่ำ ร้านที่ดีที่สุดคือร้านที่มีการควบคุมอุณหภูมิภายในห้องเก็บชา โดย ชา ต้องไม่ถูกวางใกล้กับอาหารประเภทอื่น เพราะใบชาเป็นวัตถุดูดซับกลิ่น

อ่านต่อ

ชากิโลละ 1.32 ล้านบาท หน้าตาเป็นยังไง (ชารางวัลชนะเลิศ ตอนที่ 2)

แต่ละรอบจะมีชาเข้าร่วมประกวดประมาณ 1,000 ล็อต จากผู้ผลิตหลายร้อยราย คนที่ได้รางวัลชนะเลิศ จะมีเพียงหนึ่งเดียวเท่านั้น โดยชาแต่ละล็อตที่ส่งประกวด จะมีทั้งสิ้น 10 ชั่งไต้หวัน (ชั่งละ 6 ขีด) ก็เท่ากับ 6 กิโลกรัม

อ่านต่อ

ไปเยี่ยมบ้านน้องตงฟางฯ กันครับ (ชารางวัลชนะเลิศ ตอนที่ 1)

หลังจากหมักชาเรียบร้อย ซึ่งกลิ่นและรสต่างๆของชาอู่หลง ทั้งหอมดอกไม้ รสฟรุ้ตตี้ จะเกิดขึ้นระหว่างการหมักนี้ ขั้นตอนถัดไปคือการผัดชาครับ การผัดชาก็มีหลายสูตร ชาที่ชงแบบ cold brew ได้ก็จะมีสูตรการผัดที่ต่างออกไปจากชาที่ชงร้อนได้อย่างเดียวครับ

อ่านต่อ

ชาคริสต์มาส Christmas TEA Collection

ชาคริสต์มาส สำหรับเทศกาลปีใหม่นี้ มีให้เปิดจองและพร้อมจัดส่งแล้วนะครับ ชาคริสต์มาสปีนี้มีมาทั้งหมด 4 รูปแบบด้วยกันครับ

อ่านต่อ