ชาเขียวญี่ปุ่น ปลูก ณ ที่แห่งใด

“ชาชิซึโอกะ” (静岡茶: Shizuokacha) จากจังหวัดชิซึโอกะ มีพื้นที่ปลูกเป็นอาณาเขตกว้างขวางที่สุด เนื่องจากอยู่ใกล้ฟูจิ พื้นที่บริเวณนั้นจึงอุดมไปด้วยแร่ธาตุจากภูเขาไฟ

อ่านต่อ

ยอดแรกแห่งฤดูกาล

นอกจากในเมืองจีนแล้ว ก็ยังมีวัฒนธรรมนิยมชมชอบใบชารอบแรกของปีในญี่ปุ่นอยู่เช่นกัน ใบชาที่เก็บได้รอบแรกนี้ถูกเรียกว่าอิจิบันฉะ หมายถึงใบชาที่ถูกเก็บในรอบที่หนึ่งของปี ต้นชาสายพันธุ์ควบคุมที่ใช้เป็นมาตรฐานในการวัดคุณภาพของสายพันธุ์อื่นคือพันธุ์ยะบุขิตะ หากสายพันธุ์ใดมีการแตก

อ่านต่อ

“เท็ตสึบิน” (鉄瓶: Tetsubin)

คือ “กาน้ำชาเหล็ก” มีประวัติยาวนานกว่า 400 ปี ชาวญี่ปุ่นนิยมใช้กาน้ำชาเหล็กต้มน้ำสำหรับดื่มชา โดยมีผลวิจัยจากศูนย์วิจัยน้ำประจำจังหวัดชิซุโอกะ(Shizuoka)สนับสนุนว่า…เมื่อนำน้ำไปต้มในกาเหล็ก

อ่านต่อ

คะมิโคจิ (上高地: Kamikōchi)

คือแหล่งธรรมชาติอันสวยงามกลางหุบเขาในเมืองมัทสึโมโต้ จังหวัดนากาโน่ อยู่สูงจากระดับน้ำทะเล 1,500 เมตร ถูกจัดให้เป็นสมบัติของชาติของประเทศญี่ปุ่น แต่ละปีมีผู้มาเยือนและพักผ่อนที่คะมิโคจิราว 1.5 ล้านคน

อ่านต่อ

การนั่งในห้องญี่ปุ่น

การนั่งในห้องญี่ปุ่น ถ้านั่งอย่างสุภาพต้องนั่งแบบเซสะ (正座) คือการนั่งแบบเบญจางคประดิษฐ์ เพียงแต่ที่ญี่ปุ่นนั้น ทั้งผู้หญิงและผู้ชายจะนั่งโดยการนั่งทับเท้าลงมา ไม่มีการแบ่งแยกว่าผู้ชายจะต้องนั่งเท้าตั้งตรงแบบของไทย

อ่านต่อ

Japanese Antiquarian Books about Tea 御茶に関する和古書

หนังสือเกี่ยวกับชาญี่ปุ่นครับ บางเล่มอายุเก่าเป็นร้อยปี ตัวอักษรคันจิที่เขียนยังเป็นแบบเก่า ไม่เหมือนตัวคันจิที่ใช้กันในญี่ปุ่นปัจจุบัน สังเกตว่าหนังสือเกี่ยวกับชาที่มีในภาษาอังกฤษ พออ่านไปเรื่อยๆเนื้อหาก็มักจะวนไปวนมา พอย้อนกลับมาดูหนังสือของเอเชีย โดยเฉพาะญี่ปุ่นกับจีน

อ่านต่อ

” Rooibos ชาจากแอฟริกาใต้ “

นอกจากใบชาที่เรารู้จักกันดีว่ามีที่มาทั้งจากอินเดีย จีน และญี่ปุ่นแล้ว ยังมีชาอีกชนิดหนึ่งซึ่งรสชาติหอมกลมกล่อมไม่แพ้กัน หากแต่สายพันธุ์กลับต่างกันกับชา “จริง” อย่างสิ้นเชิง นั่นคือชา Rooibos (อ่านว่า รอย-บอส) อันมีถิ่นกำเนิดมาจากแอฟริกาใต้ มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Aspalathus linearis

อ่านต่อ

ไผ่สึสึดาเกะ (煤竹)

ในสมัยก่อน บ้านญี่ปุ่นจะเป็นบ้านแบบหลังคาทำจากฟางหนาๆแบบที่เห็นตามเมือง Shiragawako โดยเพดานจะถูกทำจากไม้ไผ่ นำมามัดรวมๆกันเป็นแพ และปูลาดเป็นผืนยาว อย่างที่เห็นในรูป นอกจากนี้ บ้านคนญี่ปุ่นสมัยก่อน จะมีหม้อไฟ หรือเรียกว่า อิโนริ (囲炉裏) มีลักษณะเป็นหม้อแขวนลง

อ่านต่อ

“เยิรเงาสลัว” ความงามแบบตะวันออก

In Praise of Shadows (แปลเป็นภาษาไทยในชื่อ “เยิรเงาสลัว” โดย openbooks) ของ ทะนิสะกิ จุนอิจิโระ หนังสือเล่มนี้กล่าวถึงความงามแบบตะวันออกได้อย่างน่าสนใจเลยทีเดียว

อ่านต่อ