ชวนคุยเรื่องเจิ้งซานเสียวจ่ง 正山小种

เจิ้งซานเสียวจ่ง หรือที่เมืองจีนเรียกกันง่ายๆว่า เสียวจ่ง เป็นชาแดงพื้นฐานครับ คือทำกันมาเนิ่นนาน เป็นชาแดงตัวแรกที่ทำออกมา จึงถือได้ว่าเป็นชาพื้นๆ ถึงจะมีสตอรี่ มีประวัติศาสตร์ แต่ก็ไม่ได้เป็นที่หวือหวาโด่งดังเป็นพุแตกได้รับความนิยมแบบจินจวิ้นเหมย เนื่องจากชาวจีนดื่มเสียวจ่งกันมาหลายร้อยปีแล้วนั่นเอง

อ่านต่อ

ยอดแรกแห่งฤดูกาล

นอกจากในเมืองจีนแล้ว ก็ยังมีวัฒนธรรมนิยมชมชอบใบชารอบแรกของปีในญี่ปุ่นอยู่เช่นกัน ใบชาที่เก็บได้รอบแรกนี้ถูกเรียกว่าอิจิบันฉะ หมายถึงใบชาที่ถูกเก็บในรอบที่หนึ่งของปี ต้นชาสายพันธุ์ควบคุมที่ใช้เป็นมาตรฐานในการวัดคุณภาพของสายพันธุ์อื่นคือพันธุ์ยะบุขิตะ หากสายพันธุ์ใดมีการแตก

อ่านต่อ

กาลเวลากับชาขาว

ที่เมืองจีนมีการกล่าวถึงชาขาวว่า “หนึ่งปีเป็นชา สามปีคือยา เจ็ดปีเป็นสมบัติล้ำค่า” 一年茶、三年药、七年宝 หมายถึงว่าชาขาวที่ยิ่งเก่าเก็บจะยิ่งมีมูลค่าสูง ส่วนหนึ่งเป็นเพราะรสชาติที่เกิดการพัฒนาตัวระหว่างการเก็บ อีกส่วนหนึ่งเป็นเพราะคุณสมบัติทางยาที่ชาวจีนเชื่อว่าชาขาวเก่าเก็บ(และชา

อ่านต่อ

红茶 Black tea ใบชาที่ถูกนวด

红茶 Black tea ใบชาที่ถูกนวดแล้ว เข้าสู่กระบวนการ oxidation โดยระหว่างที่นวด เซลล์ในใบชาจะแตกออก เอนไซม์ต่างๆทำปฏิกิริยากับออกซิเจนในอากาศ เกิดการเปลี่ยนแปลงทางเคมี หากควบคุมระดับการนวด และสภาวะในการ oxidation ตั้งแต่อุณหภูมิ

อ่านต่อ

ข้อแตกต่างระหว่างชาเขียวจีน และชาเขียวญี่ปุ่น

ผู้ดื่มชาหลายท่านคงจะทราบกันดีแล้วว่า ชาเขียว ต่างจากชาดำตรงที่ไม่ผ่านการหมัก ซึ่งหลังจากที่ใบชาถูกเก็บเกี่ยวแล้ว โดยธรรมชาติ การหมักมักจะเริ่มกระบวนการทันที ยิ่งถ้าใบชาที่ถูกเด็ดทับถมกันเป็นจำนวนมาก บวกกับถ้าใบชาบอบช้ำระหว่างการเก็บ

อ่านต่อ

” Dust ” คือคำเรียกเกรดใบชา

” Dust ” คือคำเรียกเกรดใบชา ที่มีขนาดเล็กที่สุด เกิดจากการแตกหักของใบชาระหว่างการผลิต ลักษณะเด่นคือรสจะเข้มมาก เพราะใบชาที่มีขนาดเล็ก ทำให้รสออกมาได้ง่ายมากขึ้นเมื่อสัมผัสกับน้ำร้อน

อ่านต่อ

” ฤดูของดาร์จีลิ่ง “

ช่วงเวลาที่เหมาะสมแก่การเก็บใบชาดาร์จีลิ่ง มีทั้งหมดสามช่วงคือ ฤดูใบไม้ผลิ ฤดูร้อน และฤดูใบไม้ร่วง โดยช่วงฤดูที่เก็บใบชานั้น มีผลต่อรส สี และกลิ่นของชาเป็นอย่างมาก ซึ่งถึงแม้จะเป็นใบชาที่ถูกเก็บมาจากไร่เดียวกัน แต่ถ้าเก็บกันคนละฤดู ใบชาก็จะให้รสชาติที่แตกต่างกันเช่นกัน

อ่านต่อ

“ทะนิมุระ ทันโกะ”(谷村丹後)

“ทะนิมุระ ทันโกะ” (谷村丹後) เป็นหนึ่งในช่างฝีมือฉะเซ็นทั้ง 11 คนที่รัฐบาลญี่ปุ่นให้การรับรอง ปัจจุบันสืบทอดเทคนิคการทำฉะเซ็นมาจากบรรพบุรุษเป็นรุ่นที่ 20 ปกติแล้ว ฉะเซ็นที่ใช้ในพิธีชงชา จะมีการกำหนดรูปทรง สีของไม้ไผ่ สีของด้ายไว้

อ่านต่อ

“มากกว่าชา” หนังสือที่พาคุณไปเรียนรู้วัฒนธรรม ญี่ปุ่นผ่านการชงชา

“มากกว่าชา” เป็นสารคดีชนะเลิศรางวัลแว่นแก้วครั้งที่ 13 เป็นเสมือนบันทึกการใช้ชีวิตในประเทศญี่ปุ่นปีสุดท้ายของผู้เขียน เรื่องราวเริ่มต้นจากการที่ผู้เขียนมีความสนใจอยากเปิดร้านชาในเมืองไทยทำให้ผู้เขียนตัดสินใจสมัครเรียนชงชาที่ “สำนักอุระเซนกะ”

อ่านต่อ