“มากกว่าชา” หนังสือที่พาคุณไปเรียนรู้วัฒนธรรม ญี่ปุ่นผ่านการชงชา

“มากกว่าชา” เป็นสารคดีชนะเลิศรางวัลแว่นแก้วครั้งที่ 13 เป็นเสมือนบันทึกการใช้ชีวิตในประเทศญี่ปุ่นปีสุดท้ายของผู้เขียน เรื่องราวเริ่มต้นจากการที่ผู้เขียนมีความสนใจอยากเปิดร้านชาในเมืองไทยทำให้ผู้เขียนตัดสินใจสมัครเรียนชงชาที่ “สำนักอุระเซนกะ”

ก่อนชงมัทฉะทุกครั้ง…ควร

ก่อนชงมัทฉะทุกครั้ง…ควร

1. เทน้ำร้อนลงในถ้วยชา
2. นำ “ฉะเซ็น” มาตีน้ำร้อนเบาๆ
3. เทน้ำร้อนทิ้ง แล้วเช็ดภายในถ้วยให้แห้งด้วยผ้าสะอาด

รู้เฟื่องเรื่อง “ชานม”

ชาที่นำมาทำชานม(Milk Tea) จะต้องมีคุณสมบัติดังต่อไปนี้

1. มีรสและกลิ่นของ “ชา” เข้มข้นพอสมควร เพราะเมื่อเทนมลงไปแล้ว กลิ่นและรสของนมจะได้ไม่ไปกลบกลิ่นและรสของชา

“นัตสึเมะ” (棗: Natsume)

“นัตสึเมะ” (棗: Natsume) คือภาชนะสำหรับใส่ “มัทฉะแบบอ่อน” (薄茶) ถูกตั้งชื่อเช่นนี้เพราะมีรูปร่างคล้ายผล “นัตสึเมะ” หรือ “พุทราจีน” ในภาษาไทย วิธีการใช้นัตสึเมะคือ ผู้มีหน้าที่ชงชาใน Japanese Tea Ceremony จะต้องนำมัทฉะมาร่อนด้วยตะแกรงใส่นัตสึเมะ

“อนุมูลอิสระ” (Free Radical)

“อนุมูลอิสระ” (Free Radical) คือ อะตอมที่มีอิเล็กตรอนเดี่ยว เมื่อวิ่งไปชนกับโมเลกุลใดๆ โมเลกุลนั้นก็จะสูญเสียอิเล็กตรอนของมันเอง เกิดเป็นอนุมูลอิสระตัวใหม่ไปเรื่อยๆ ไม่รู้จบ

วิธีเก็บรักษาใบชาให้อยู่ได้นาน

ใบชาโดยปกติแล้วจะสามารถเก็บไว้ได้ไม่เกิน 1 ปี นับจากวันที่ซื้อ หากเกินนั้นรสของชาจะค่อยๆจางไปจนไม่เหลือกลิ่น ซึ่งยิ่งหากเก็บไม่ถูกวิธี กลิ่นของชาก็อาจจางลงได้ในระยะเวลาแค่ 3 เดือน สิ่งสำคัญในการเก็บรักษาใบชาคือจะทำอย่างไรให้กลิ่นของชาคงอยู่ได้

Tip 8 ข้อ สำหรับการชงชาฝรั่งและดื่มด่ำในรสชาติ

ในการชงชาฝรั่งนั้นแม้อาจไม่ได้มีพิธีรีตองอย่างเช่นการดื่มชาในจีนหรือญี่ปุ่น แต่การจะชงชาฝรั่งด้วยอุณหภูมิที่เหมาะสมให้ได้กลิ่นและรสที่พอดี รวมถึงการดื่มด่ำในรสชาติพร้อมของเคียงและบรรยากาศที่ลงตัวก็มีข้อแนะนำมาให้ลองทำกันอยู่หลายข้อ:

อุณหภูมิของน้ำกับการชงชา

ใบชาประเภทต่างๆ มีสารอาหารอยู่ในปริมาณที่แตกต่างกัน ขึ้นอยู่กับกรรมวิธีการผลิต ซึ่งสารอาหารเหล่านี้นี่เอง ที่เป็นตัวกำหนด “รสชาติ” ของชา เช่น ชาที่มีกรดอะมิโนเยอะ ก็จะมีรสกลมกล่อม ชาที่มีสารแคทิซินเยอะ ก็จะมีรสฝาด และขม เป็นต้น

การเลือกน้ำแร่สำหรับการชงชา

ในการเลือกน้ำสำหรับใช้ชงชา ปกติแล้วสามารถใช้น้ำขวดธรรมดาแบบที่วางขายทั่วไป นำมาต้มให้เดือดก็เป็นอันใช้ได้ แต่บทความนี้ จะพูดถึงเฉพาะเรื่องการใช้น้ำแร่ครับ เพราะชนิดของน้ำแร่มีผลต่อรสของชาที่แตกต่างกัน ดังนั้น ข้อเท็จจริงเรื่องน้ำแร่ชนิดไหนจะชงชาออกมาได้รสอย่างไร