ปรัชญาแห่งชา
“…โดยความหมายทั่วไปแล้ว ปรัชญาแห่งชานั้นไม่ได้เป็นเพียงสุนทรีนิยม กล่าวคือ เป็นสิ่งที่อธิบายมุมมองของพวกเราต่อมนุษย์และธรรมชาติ ซึ่งประสานกันได้ดีกับจริยธรรมและศาสนา ดังที่ซะโดได้สอนถึงความสะอาดอย่างเคร่งครัดอันเป็นส่วนหนึ่งของศาสตร์
“…โดยความหมายทั่วไปแล้ว ปรัชญาแห่งชานั้นไม่ได้เป็นเพียงสุนทรีนิยม กล่าวคือ เป็นสิ่งที่อธิบายมุมมองของพวกเราต่อมนุษย์และธรรมชาติ ซึ่งประสานกันได้ดีกับจริยธรรมและศาสนา ดังที่ซะโดได้สอนถึงความสะอาดอย่างเคร่งครัดอันเป็นส่วนหนึ่งของศาสตร์
“ทะคะโฮะ” 高穂 ฉะเซ็นอันแรกบนโลก
เมื่อวานผมไปเยี่ยมคุณคุโบะ ซะบุน (久保左文) ช่างฝีมือฉะเซ็น ที่จังหวัดนารา ประเทศญี่ปุ่น เลยได้ฟังเรื่องราวเกี่ยวกับฉะเซ็นเพิ่มเติมมากขึ้น ฉะเซ็นทางด้านขวามือในรูป มีชื่อว่า “ทะคะโฮะ” เขียนเป็นตัวคันจิได้ว่า 高穂 โดยตัว 高 นั้นแปลได้ว่าสูงส่ง
” เกียวโต ” เมืองหลวงของ ” มัทฉะ ”
ชาจากเกียวโต จะถูกเรียกว่า “ชาอุจิ” (宇治茶) เพราะปลูกในเมืองที่ชื่อว่า “เมืองอุจิ” (宇治市) ซึ่งเป็นเมืองเล็กๆทางใต้ของจังหวัดเกียวโต ทั้งนี้ ภาพลักษณ์ของชาอุจิ
“ชาแดงฉีเหมิน” (Keemun) คือชาจากประเทศจีน ตั้งชื่อตามเมืองฉีเหมิน มณฑลอันฮุย มีกลิ่นหอมดอกไม้ คล้ายกลิ่นกล้วยไม้ มีคุณสมบัติช่วยทำให้รู้สึกสดชื่น
ในหลายๆประเทศ ที่มีการดื่มชากันเป็นล่ำเป็นสันนั้น จะมีวัฒนธรรม Tea Party หรืองานเลี้ยงน้ำชาอยู่ โดยของอังกฤษนั้น งานเลี้ยงน้ำชาจะเป็นรูปแบบ Afternoon Tea คือจัดขึ้นในตอนบ่าย ระหว่างงานก็ดื่มชา กินขนม พูดคุย แลกเปลี่ยนความคิดเห็นซึ่งกันและกัน
“เซนฉะ” (煎茶: Sencha) คือชาเขียวชนิดหนึ่ง ที่นำใบชาไปนึ่ง โดยไม่ผ่านการหมัก เป็นที่นิยมของคนญี่ปุ่นมาก โดยคิดเป็นสัดส่วนมากถึง 80% ของชาเขียวที่ถูกผลิตในญี่ปุ่นทั้งหมด เซนฉะ มีทั้งรสชาติขม และหวานอุมามิ ขึ้นอยู่กับเกรดของใบชา และอุณหภูมิของน้ำที่ใช้ชง
ช่วงเวลาที่เหมาะสมแก่การเก็บใบชาดาร์จีลิ่ง มีทั้งหมดสามช่วงคือ ฤดูใบไม้ผลิ ฤดูร้อน และฤดูใบไม้ร่วง โดยช่วงฤดูที่เก็บใบชานั้น มีผลต่อรส สี และกลิ่นของชาเป็นอย่างมาก ซึ่งถึงแม้จะเป็นใบชาที่ถูกเก็บมาจากไร่เดียวกัน แต่ถ้าเก็บกันคนละฤดู ใบชาก็จะให้รสชาติที่แตกต่างกันเช่นกัน
“ทะนิมุระ ทันโกะ” (谷村丹後) เป็นหนึ่งในช่างฝีมือฉะเซ็นทั้ง 11 คนที่รัฐบาลญี่ปุ่นให้การรับรอง ปัจจุบันสืบทอดเทคนิคการทำฉะเซ็นมาจากบรรพบุรุษเป็นรุ่นที่ 20 ปกติแล้ว ฉะเซ็นที่ใช้ในพิธีชงชา จะมีการกำหนดรูปทรง สีของไม้ไผ่ สีของด้ายไว้
“มากกว่าชา” เป็นสารคดีชนะเลิศรางวัลแว่นแก้วครั้งที่ 13 เป็นเสมือนบันทึกการใช้ชีวิตในประเทศญี่ปุ่นปีสุดท้ายของผู้เขียน เรื่องราวเริ่มต้นจากการที่ผู้เขียนมีความสนใจอยากเปิดร้านชาในเมืองไทยทำให้ผู้เขียนตัดสินใจสมัครเรียนชงชาที่ “สำนักอุระเซนกะ”
“ชาดาร์จีลิ่ง” (Darjeeling tea) คือชาที่มีชื่อเสียงมากอีกชนิดหนึ่งของอินเดีย มีพื้นที่ปลูกอยู่ที่เมืองดาร์จีลิ่ง ในรัฐเวสต์เบงกอล ใกล้ๆกับเทือกเขาหิมาลัย ปัจจุบันมีไร่ชาประมาณ 85 แห่ง