Japanese Antiquarian Books about Tea 御茶に関する和古書

หนังสือเกี่ยวกับชาญี่ปุ่นครับ บางเล่มอายุเก่าเป็นร้อยปี ตัวอักษรคันจิที่เขียนยังเป็นแบบเก่า ไม่เหมือนตัวคันจิที่ใช้กันในญี่ปุ่นปัจจุบัน สังเกตว่าหนังสือเกี่ยวกับชาที่มีในภาษาอังกฤษ พออ่านไปเรื่อยๆเนื้อหาก็มักจะวนไปวนมา พอย้อนกลับมาดูหนังสือของเอเชีย โดยเฉพาะญี่ปุ่นกับจีน

” Rooibos ชาจากแอฟริกาใต้ “

นอกจากใบชาที่เรารู้จักกันดีว่ามีที่มาทั้งจากอินเดีย จีน และญี่ปุ่นแล้ว ยังมีชาอีกชนิดหนึ่งซึ่งรสชาติหอมกลมกล่อมไม่แพ้กัน หากแต่สายพันธุ์กลับต่างกันกับชา “จริง” อย่างสิ้นเชิง นั่นคือชา Rooibos (อ่านว่า รอย-บอส) อันมีถิ่นกำเนิดมาจากแอฟริกาใต้ มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Aspalathus linearis

ไผ่สึสึดาเกะ (煤竹)

ในสมัยก่อน บ้านญี่ปุ่นจะเป็นบ้านแบบหลังคาทำจากฟางหนาๆแบบที่เห็นตามเมือง Shiragawako โดยเพดานจะถูกทำจากไม้ไผ่ นำมามัดรวมๆกันเป็นแพ และปูลาดเป็นผืนยาว อย่างที่เห็นในรูป นอกจากนี้ บ้านคนญี่ปุ่นสมัยก่อน จะมีหม้อไฟ หรือเรียกว่า อิโนริ (囲炉裏) มีลักษณะเป็นหม้อแขวนลง

ใบของต้นชาพันธุ์อะสะฮิ あさひ Asahi

เป็นพันธุ์พื้นเมืองของอุจิ เกียวโต เหมาะสำหรับทำเกียวขุโระ และมัทฉะ

ที่ญี่ปุ่นจะไม่มีการใช้พันธุ์ยะบุขิตะทำเกียวขุโระและมัทฉะ เพราะมีรสชาติขม เหมาะสำหรับทำเซนฉะเพียงอย่างเดียว

“เยิรเงาสลัว” ความงามแบบตะวันออก

In Praise of Shadows (แปลเป็นภาษาไทยในชื่อ “เยิรเงาสลัว” โดย openbooks) ของ ทะนิสะกิ จุนอิจิโระ หนังสือเล่มนี้กล่าวถึงความงามแบบตะวันออกได้อย่างน่าสนใจเลยทีเดียว

Chrysanthemum Tea ชาดอกเก๊กฮวย

เก๊กฮวยเป็นพืชชนิดหนึ่งในตระกูลดอกเบญจมาศ ดอกเบญจมาศมีหลายชนิด หนึ่งในนั้นคือเก็กฮวย มีถิ่นกำเนิดอยู่ที่จีนและญี่ปุ่น โดยที่เมืองจีน ดอกเก๊กฮวยถูกจดจำในฐานะชาดอกไม้ เพราะมีการดื่มเก๊กฮวยเป็นชามานานกว่า 2,000 ปีแล้ว ส่วนในญี่ปุ่น

ข้อแตกต่างระหว่างชาเขียวจีน และชาเขียวญี่ปุ่น

ผู้ดื่มชาหลายท่านคงจะทราบกันดีแล้วว่า ชาเขียว ต่างจากชาดำตรงที่ไม่ผ่านการหมัก ซึ่งหลังจากที่ใบชาถูกเก็บเกี่ยวแล้ว โดยธรรมชาติ การหมักมักจะเริ่มกระบวนการทันที ยิ่งถ้าใบชาที่ถูกเด็ดทับถมกันเป็นจำนวนมาก บวกกับถ้าใบชาบอบช้ำระหว่างการเก็บ

พิธีกรรมเรียบง่ายแห่งการชงชา

จวบจนเข้าสู่ยุคมุโระมะจิ ศตวรรษที่สิบห้า พระญี่ปุ่นนามมุราตะ จุโค เห็นว่าการนำชาเป็นเครื่องมือแสดงถึงความหรูหรา ฟุ้งเฟ้อแบบชนชั้นสูงนั้นเป็นเรื่องไม่สมควร จึงนำพิธีกรรมการชงชามาสร้างแบบแผนใหม่ จุดนี้เองที่การชงชาถูกพัฒนามาเป็นพิธีชงชา

วิถีแห่งชา

“ชาเริ่มสถานะจากการเป็นยาไปสู่การเป็นเครื่องดื่ม ที่เมืองจีน ในศตวรรษที่แปด ชาเข้าสู่อาณาจักรแห่งบทกวีจากการเป็นหนึ่งในมหรสพอันนอบน้อม ศตวรรษที่สิบห้าเป็นประจักษ์พยานแก่การยกสถานะของชาโดยญี่ปุ่นขึ้นสู่ลัทธิแห่งสุนทรียนิยม

ชา-ญี่ปุ่นในยุคแรกเริ่ม

สันนิษฐานกันว่าชาถูกนําเข้ามายังประเทศญี่ปุ่นตั้งแต่ต้นศตวรรษที่เก้า ในสมัยแรกเริ่มของยุคเฮอัน ผ่านทางพระญี่ปุ่นผู้เดินทางไปร่ําเรียนพระพุทธศาสนาที่ประเทศจีน