สูตร Lady Grey & Sencha Summer Tea
สูตร Lady Grey & Sencha Summer Tea
วัตถุดิบ
1. น้ำแร่หรือน้ำธรรมดา 2 ลิตร
2. น้ำตาลเล็กน้อย(ปรับได้ตามความชอบ)
3. ใบชาเลดี้เกรย์ 4 กรัม
4. ใบชาเขียวเซนฉะ 4 กรัม
สูตร Lady Grey & Sencha Summer Tea
วัตถุดิบ
1. น้ำแร่หรือน้ำธรรมดา 2 ลิตร
2. น้ำตาลเล็กน้อย(ปรับได้ตามความชอบ)
3. ใบชาเลดี้เกรย์ 4 กรัม
4. ใบชาเขียวเซนฉะ 4 กรัม
ในหลายๆประเทศ ที่มีการดื่มชากันเป็นล่ำเป็นสันนั้น จะมีวัฒนธรรม Tea Party หรืองานเลี้ยงน้ำชาอยู่ โดยของอังกฤษนั้น งานเลี้ยงน้ำชาจะเป็นรูปแบบ Afternoon Tea คือจัดขึ้นในตอนบ่าย ระหว่างงานก็ดื่มชา กินขนม พูดคุย แลกเปลี่ยนความคิดเห็นซึ่งกันและกัน
รู้หรือไม่ว่า?!…สำหรับหนุ่มสาวออฟฟิสที่ทำงานในห้องแอร์ ควรดื่มน้ำเพื่อชดเชยการสูญเสียน้ำจากสภาพอากาศที่แห้ง โดยการจิบน้ำทุก 30 นาที ทั้งนี้ อาจปรับเปลี่ยนจากน้ำดื่ม
มีเอกลักษณ์คือเป็นถ้วยใบใหญ่ ก้นกว้าง สะดวกแก่การใช้ฉะเซ็นตีมัทฉะ
เป็นงานแฮนด์เมดส่งออก ทำด้วยมือทุกขั้นตอน แต่ละใบลายจะไม่เหมือนกัน
ปั้นจากดินแม่ริม สันป่าตอง และลำปาง
KYOBASHI chiang rai
รู้ไหมว่า…ชาเขียว ไม่เหมาะกับการชงด้วยน้ำเดือด!?!!
ชาเขียว คือ ชาที่ไม่ผ่านการหมัก จึงมีความสด และสารแคทิซีนในใบชาสูง หากชงด้วยน้ำเดือด 100 องศา ใบชาจะเฉา เหี่ยว และขับ
” Theanine ” ในชาเขียว
ชาเขียว เป็นชาที่มีกรดอะมิโนอยู่เป็นจำนวนมาก ซึ่งกรดอะมิโนเหล่านี้นี่เอง ที่เป็นตัวให้รสอูมามิ รสหวานอันเป็นเอกลักษณ์ของชาเขียว
” Jumping ” คือลักษณะการเคลื่อนไหวของใบชา ที่ไหลวนไปมาภายในกาหลังจากเทน้ำร้อนลงไป
เคล็ดลับในการทำให้ใบชาเกิดการเคลื่อนไหวแบบ Jumping นั้น มีอยู่ว่า ควรจะเทน้ำร้อนจากที่สูงๆ ให้น้ำร้อนตกกระทบกับใบชา ซึ่งการทำเช่นนี้จะทำให้ใบชาตื่นตัว อีกทั้งแรงกระทบจะพาใบชาไหลวนไปทั่วกา ทำให้รสชาติของชาออกมามากขึ้น
“เซนฉะ” (煎茶: Sencha) คือชาเขียวชนิดหนึ่ง ที่นำใบชาไปนึ่ง โดยไม่ผ่านการหมัก เป็นที่นิยมของคนญี่ปุ่นมาก โดยคิดเป็นสัดส่วนมากถึง 80% ของชาเขียวที่ถูกผลิตในญี่ปุ่นทั้งหมด เซนฉะ มีทั้งรสชาติขม และหวานอุมามิ ขึ้นอยู่กับเกรดของใบชา และอุณหภูมิของน้ำที่ใช้ชง
“ทะนิมุระ ทันโกะ” (谷村丹後) เป็นหนึ่งในช่างฝีมือฉะเซ็นทั้ง 11 คนที่รัฐบาลญี่ปุ่นให้การรับรอง ปัจจุบันสืบทอดเทคนิคการทำฉะเซ็นมาจากบรรพบุรุษเป็นรุ่นที่ 20 ปกติแล้ว ฉะเซ็นที่ใช้ในพิธีชงชา จะมีการกำหนดรูปทรง สีของไม้ไผ่ สีของด้ายไว้
หลังจากใช้ฉะเซ็นเสร็จ ควรนำไปแกว่งในน้ำอุ่น แกว่งเฉพาะส่วนที่สัมผัสกับมัทฉะก็พอครับ ไม่ต้องเอาไปล้างน้ำทั้งอัน พอแกว่งเสร็จสักสองน้ำก็นำมาตั้งไว้ให้แห้ง ถ้าใครมีเซรามิกที่เอาไว้สำหรับพักฉะเซ็น ก็เอาไปเสียบไว้ รอให้แห้ง ก็ได้ครับ ที่พักฉะเซ็นนี้มีข้อดีคือ น้ำไม่ไหลเข้าส่วนที่เป็นที่จับ แล้วก็ช่วยรักษารูปทรงของฉะเซ็น