“ชาดาร์จีลิ่ง” (Darjeeling tea)

“ชาดาร์จีลิ่ง” (Darjeeling tea) คือชาที่มีชื่อเสียงมากอีกชนิดหนึ่งของอินเดีย มีพื้นที่ปลูกอยู่ที่เมืองดาร์จีลิ่ง ในรัฐเวสต์เบงกอล ใกล้ๆกับเทือกเขาหิมาลัย ปัจจุบันมีไร่ชาประมาณ 85 แห่ง

อ่านต่อ

“อิชิอุสุ” (石臼: Ishi-usu) “ครกหินญี่ปุ่น”

อิชิอุสุ มีประวัติศาสตร์ยาวนานกว่า 1400 ปี สมัยก่อน คนญี่ปุ่นแทบทุกครัวเรือนจะมีอิชิอุสุไว้ใช้ ทั้งบดเมล็ดข้าวเพื่อนำแป้งไปทำเส้นอุด้ง หรือบดถั่วเหลืองเพื่อนำไปทำเต้าหู้ โดยใส่อาหารที่ต้องการบดที่รูด้านบน แล้วหมุนครกไปมา ให้หินสองก้อนเสียดสีกัน

อ่านต่อ

“ชาอัสสัม” (Assam Tea)

“ชาอัสสัม” (Assam Tea) คือชาดำ ที่ถูกปลูกขึ้นในรัฐอัสสัม ประเทศอินเดีย มีรสและกลิ่นของชาค่อนข้างเข้ม นิยมนำไปเบลนด์เป็น English Breakfast หรือผสมนม ชงเป็น milk tea

อ่านต่อ

“อนุมูลอิสระ” (Free Radical)

“อนุมูลอิสระ” (Free Radical) คือ อะตอมที่มีอิเล็กตรอนเดี่ยว เมื่อวิ่งไปชนกับโมเลกุลใดๆ โมเลกุลนั้นก็จะสูญเสียอิเล็กตรอนของมันเอง เกิดเป็นอนุมูลอิสระตัวใหม่ไปเรื่อยๆ ไม่รู้จบ

อ่านต่อ

“โฮจิฉะ” (ほうじ茶: Hōjicha ) หรือ “ชาเขียวคั่ว”

“โฮจิฉะ” (ほうじ茶: Hōjicha ) หรือ “ชาเขียวคั่ว” ถูกผลิตโดยการนำใบชาเขียวที่เหลือจากกระบวนการผลิตชาเขียวประเภทอื่นๆไปคั่ว ทำให้มีกลิ่นหอมไหม้ ดื่มแล้วรู้สึกสดชื่น

อ่านต่อ

“เกียวขุโระ” ชาที่ดีที่สุดของญี่ปุ่น

เกียวขุโระ (玉露: Gyokuro) ถือเป็นชาที่ดีที่สุด ในหมวดหมู่ชาเขียว เพราะต้องผ่านการประคบประหงมด้วยขั้นตอนยุ่งยากมากมาย กว่าจะได้ใบชามาชงเสิร์ฟเป็นชาร้อนๆ

อ่านต่อ

“เทนฉะ” ต้นกำเนิดของ “มัทฉะ”

คราวก่อนเรารู้จักกับ “ชาเกียวขุโระ” หรือ “เกียวขุโระฉะ” กันไปแล้ว (ในภาษาญี่ปุ่น คำว่า ชา ออกเสียงว่า ฉะ) คราวนี้ผมจะพาเราไปรู้จักกับ “เทนฉะ” กันครับ

อ่านต่อ

ว่าด้วยชาอุจิ 宇治茶に関してต้นกำเนิด ชาเขียว มัทฉะ

หลายสัปดาห์ก่อนสัญญาไว้ว่าจะนำเรื่องราวเกี่ยวกับชาอุจิมาเขียนให้ได้อ่านกัน หลังจากสะสางธุระปะปังรวมทั้งงานหลายอย่าง วันนี้มีเวลาว่างมาเขียนให้ได้อ่านกันแล้วครับ อาจจะยาวไปสักนิดหนึ่ง หากไม่มีเวลาอ่านตอนนี้ แชร์ไว้อ่านวันหลังกันก็ได้ครับ
.

อ่านต่อ