จักรวาลขนาดย่อม 小宇宙

เมื่อหลายร้อยปีก่อน สมัยที่ญี่ปุ่นเริ่มนำชาจากจีนเข้ามาดื่มนั้น ก็ได้นำเครื่องปั้นดินเผาเพื่อสำหรับใช้ในการดื่มชาเข้ามาด้วย ในยุคนั้นสิ่งของที่มาจากจีนถือว่าเป็นสิ่งล้ำค่า ด้วยว่านวัตกรรมของจีนในยุคนั้นต่างเหนือกว่าประเทศในแถบเอเชียทั้งสิ้น

อ่านต่อ

ชาเขียวญี่ปุ่น ปลูก ณ ที่แห่งใด

“ชาชิซึโอกะ” (静岡茶: Shizuokacha) จากจังหวัดชิซึโอกะ มีพื้นที่ปลูกเป็นอาณาเขตกว้างขวางที่สุด เนื่องจากอยู่ใกล้ฟูจิ พื้นที่บริเวณนั้นจึงอุดมไปด้วยแร่ธาตุจากภูเขาไฟ

อ่านต่อ

ชาจีนกับชาญี่ปุ่นแตกต่างกันอย่างไร ?

….เอกลักษณ์ของชาญี่ปุ่นนั้น จะมีการให้ความสำคัญกับ รสชาติ มากกว่า กลิ่น ดังนั้นการดึงรสชาติของชา ไม่ว่าจะเป็นรสขม หวาน หรือกลมกล่อม ล้วนเป็นหัวใจสำคัญของการผลิตชาญี่ปุ่น

อ่านต่อ

รู้ไหมว่า…ในช่วงแรกที่ชาจากจีนถูกนำเข้าไปยังยุโรป(ศตวรรษที่ 16) ชานั้นเป็นชาอะไร ระหว่างชาดำ ชาเขียว และชาอู่หลง??!

ถึงแม้ว่าปัจจุบัน ชาดำ(ชาฝรั่ง)จะเป็นชาที่ชาวตะวันตกส่วนใหญ่นิยมดื่ม ทว่าในยุคเริ่มแรกที่พ่อค้าชาวดัตช์นำชาจากประเทศจีนติดเรือมุ่งหน้าเข้าสู่ยุโรปนั้น ชาในยุคนั้นยังเป็นชาเขียว กล่าวคือเป็นชาที่ไม่ผ่านการหมัก มีวิธีการผลิตคือ เมื่อเก็บใบชาแล้ว ใบชาจะถูกนำไปผึ่งบนแคร่ไม้ไผ่

อ่านต่อ

ชาต้งติ่งอู่หลง (凍頂烏龍茶: Dòngdǐng Wūlóngchá)

ชาต้งติ่งอู่หลง (凍頂烏龍茶: Dòngdǐng Wūlóngchá) เป็นชาอู่หลงชนิดหนึ่ง ที่มีชื่อเสียงโด่งดังมากของไต้หวัน ถูกจัดให้เป็นชาอู่หลงระดับพรีเมี่ยม มีสีและรสคล้ายชาเขียว แต่มีกลิ่นหอมสะอาดแบบกลิ่นของดอกไม้ ชวนให้รู้สึกผ่อนคลาย แรกเริ่มเดิมที ชาต้งติ่งได้ถูกนำมาปลูกจากมณฑลฝูเจี้ยน

อ่านต่อ

ตำนานที่มาของชาทิกวนอิม

ชาทิกวนอิมเป็นชาอู่หลงของจีนที่ค่อนข้างมีชื่อเสียง มีตำนานเล่าเกี่ยวกับที่มาของชื่อหลายตำนาน โดยตำนานแรกนั้นเล่าว่า…ในสมัยของจักรพรรดิเฉียนหลง มีชายคนหนึ่ง นามว่านาย “หวัง” ได้นัดแนะพบกันกับเพื่อนที่ตีนเขาพระโพธิสัตว์กวนอิมที่เมืองซีผิง มณฑลฝูเจี้ยน

อ่านต่อ

รู้ไหมว่า…ทำไมชาวญี่ปุ่นนิยมดื่มชาเพียง 2 ชนิด

สาเหตุเป็นเพราะว่า ชาอู่หลงนั้นรสชาติไม่ต่างจากชาเขียวญี่ปุ่นมาก และชาวญี่ปุ่นมีค่านิยมว่าอะไรที่สามารถผลิตเองได้ภายในประเทศ ก็จะไม่ซื้อให้เสียเงิน ในขณะเดียวกัน ชาวญี่ปุ่นไม่ผลิตชาดำ และชาดำก็มีรสชาติที่ต่างจากชาเขียวมาก ในกรณีของชาดำ จึงมีเหตุผลที่มีน้ำหนักมากพอที่ทำให้ชาวญี่ปุ่นยอมซื้อชาดำมาดื่มได้นั่นเอง

อ่านต่อ