Wuyi Jin Jun Mei 武夷金骏眉
ชาจากอู่อี๋ซานกำลังทยอยเดินทางมาถึงครับ ตัวแรกนี้เป็นจินจวิ้นเหมย ช่วงก่อนปีใหม่ผมเขียนบทความเรื่องเกาซานจินจวิ้นเหมย 高山金骏眉 กับผิงตี้จินจวิ้นเหมยไป 平地金骏眉 โดยอ้างอิงจากหนังสือของเจิ้งซานถาง 正山堂 ผู้ผลิตจินจวิ้นเหมยเป็นเจ้าแรก
ชาจากอู่อี๋ซานกำลังทยอยเดินทางมาถึงครับ ตัวแรกนี้เป็นจินจวิ้นเหมย ช่วงก่อนปีใหม่ผมเขียนบทความเรื่องเกาซานจินจวิ้นเหมย 高山金骏眉 กับผิงตี้จินจวิ้นเหมยไป 平地金骏眉 โดยอ้างอิงจากหนังสือของเจิ้งซานถาง 正山堂 ผู้ผลิตจินจวิ้นเหมยเป็นเจ้าแรก
ใกล้ๆกับอำเภออุจิ จังหวัดเกียวโต ห่างไปสัก 2-3 กิโลเมตร คืออำเภอเคียวตะนะเบะ เป็นแหล่งปลูกเกียวขุโระชั้นดี ที่นี่จะเด็ดยอดต้นชาด้วยมือเท่านั้น จากนั้นจึงนำไปทำเป็นชาแห้งโดยใช้เครื่องจักร ที่มีมนุษย์ควบคุมอยู่ทุกขั้นตอน
หลายๆท่านที่เคยลิ้มรสชาญี่ปุ่น หรือเป็นคอมัทฉะ ไม่ว่าจะมัทฉะเพียวๆชงในถ้วยชาใบโต หรือมัทฉะลาเต้เย็นๆครีมข้นๆในแก้วพลาสติกใบใส อาจจะคุ้นหูหรือเคยได้ยินคำว่า ชาอุจิ กันมาบ้าง บางท่านอาจรู้ลึกทราบว่าชาอุจิก็คือชาที่มาจากจังหวัดเกียวโต
ในจำนวนชาสุดคลาสสิคจากเมืองจีนทั้งหมด เถี่ยกวนอินจัดได้ว่าเป็นชาอันดับต้นๆที่คนมักจะพูดถึง ด้วยเอกลักษณ์ที่มีความหอมฟุ้ง คละเคล้ากันระหว่างกลิ่นชาและกลิ่นดอกไม้ ซึ่งเป็นผลมาจากสายพันธุ์ต้นชาและกรรมวิธีการผลิต น้ำชาที่ชงออกมามีสีเขียวอ่อนใส
เปลือกส้มถูกใช้ในเมืองจีนในฐานะเครื่องปรุงรสและยาแพทย์แผนจีนมาเป็นระยะยาวนานกว่าหนึ่งพันปี เมื่อนำไปชงกับน้ำร้อน เปลือกส้มจะให้รสที่หวานเด่น ตามด้วย aftertaste ที่เจือความฝาดและขมอ่อนๆ
ในเรื่องของสายพันธุ์ของต้นชา จริงๆแล้วภาคเหนือตอนบนของประเทศไทยมีต้นชาอยู่มากมาย ต้นชาแบบแรกคือต้นชาสายพันธุ์พื้นเมือง
บนดอยแม่สลอง ช่วงแรกจะปลูกพันธุ์ชิงชิน จากนั้นก็นำจินเชวียนเข้ามา แล้วก็หร่วนจือ จากนั้นก็ซื่อจี้ชุน แต่ปัจจุบันพันธุ์ชิงชินไม่มีการผลิตแล้ว เนื่องจากผลผลิตน้อย
เมื่อมีการกล่าวถึงชาดำที่ถูกผลิตขึ้นมาเป็นตัวแรกของโลก ชื่อของแลปซางซูชอง (Lapsang Souchong) มักปรากฏให้เห็นอยู่บ่อยๆเสมอ ว่ากันว่าชาดำตัวนี้เกิดขึ้นจากการที่กองทหารในยุคหมิง