” ชาปลอมในประวัติศาสตร์ “

ในระยะเริ่มแรกที่ชาถูกนำเข้าไปขายยังยุโรปเมื่อราวๆ 400 กว่าปีก่อนนั้น ชาถือเป็นของสูง ที่คนมีเงินเท่านั้นที่สามารถซื้อหามาดื่มได้ แต่เมื่อเวลาผ่านไป ชาก็เริ่มแพร่หลายลงมาสู่กลุ่มชนชั้นกลาง ก่อให้เกิดการบริโภคชาในวงกว้างมากขึ้น แต่กระนั้นความต้องการชาก็ยังมีมากเสียจนหลายๆครั้ง

อ่านต่อ

กาลเวลากับชาขาว

ที่เมืองจีนมีการกล่าวถึงชาขาวว่า “หนึ่งปีเป็นชา สามปีคือยา เจ็ดปีเป็นสมบัติล้ำค่า” 一年茶、三年药、七年宝 หมายถึงว่าชาขาวที่ยิ่งเก่าเก็บจะยิ่งมีมูลค่าสูง ส่วนหนึ่งเป็นเพราะรสชาติที่เกิดการพัฒนาตัวระหว่างการเก็บ อีกส่วนหนึ่งเป็นเพราะคุณสมบัติทางยาที่ชาวจีนเชื่อว่าชาขาวเก่าเก็บ(และชา

อ่านต่อ

Four Season Tea ชาสี่ฤดู

เมื่อเร็วๆนี้ผมเริ่มค้นพบว่า เสน่ห์อีกอย่างหนึ่งของชาคือสายพันธุ์ที่มีค่อนข้างหลากหลาย เพราะเมื่อศึกษาลงลึกไปจริงๆ จะพบว่าสายพันธุ์ในปัจจุบันไม่ใช่มีแค่พันธุ์จีนหรือพันธุ์อัสสัม แต่ในสองสายพันธุ์หลักนี้ก็สามารถแยกย่อยได้อีกเป็นร้อยๆสายพันธุ์

อ่านต่อ

 โร่วกุ้ย กับ ต้าหงเผา

ทั้งสองตัวนี้มาจากเขตอุทยานอู่อี๋ซานครับ จากแหล่งปลูกที่ชื่อว่าหม่าโถวเหยียน 马头岩 หรือผาหัวม้า เป็นแหล่งปลูกที่ทำการปลูกชาสองชนิดนี้ที่มีชื่อเสียงโด่งดัง

อ่านต่อ

ยอดชาจินจวิ้นเหมย สีทองสมชื่อ

สาเหตุที่เป็นสีทองแบบนี้เป็นเพราะใบชาถูกเก็บเฉพาะยอดแหลมครับ พอนำมานวด ผ่านกระบวนการ oxidation ใบชาจึงกลายเป็นสีน้ำตาล โดยเฉพาะส่วนของขนชา (tea hair) ที่บางงานวิจัยทำการทดสอบแล้วพบว่ามีสารต้านอนุมูลอิสระสูง ซึ่งพอถูกความร้อนแล้วก็จะกลายเป็นสีทองอย่างที่

อ่านต่อ

ซะโด วิถีแห่งชา

“…แรกเริ่มเดิมทีนั้น ชาถูกใช้เป็นยาก่อนพัฒนาไปสู่เครื่องดื่มในภายหลัง ในคริสต์ศตวรรษที่ 8 ชาได้พัฒนาไปสู่ขอบเขตของการกวี ในฐานะเครื่องมือแห่งการบรรเทิงศิลปะชนิดหนึ่ง กระทั่งคริสต์ศตวรรษที่ 15 ณ ประเทศญี่ปุ่นได้มีการทำให้ชามีความสูงส่งยิ่งขึ้นจนเป็นศาสนาแห่งความงาม

อ่านต่อ

ใบชาพันธุ์อัสสัม มีขนาดใหญ่มาก

หลายร้อยปีก่อน มนุษย์เชื่อกันว่าต้นชาเป็นพืชที่ขึ้นอยู่เฉพาะในประเทศจีนเท่านั้น จนกระทั่งอังกฤษยึดอินเดียเป็นอาณานิคม จึงมีการสำรวจป่า เพื่อค้นหาพืชที่จักรวรรดิอังกฤษสามารถนำไปเพาะปลูกเพื่อค้าขายได้ ในช่วงแรก นักสำรวจชาวอังกฤษสังเกตว่าชนพื้นเมืองชาวอัสสัมมีการบริโภค

อ่านต่อ

ชาหลงจิ่ง 龍井茶 ชาเขียวที่โด่งดังที่สุด

ชาหลงจิ่ง 龍井茶 ชาเขียวที่โด่งดังที่สุด ถึงขั้นได้ชื่อว่าเป็นชาแห่งจักรพรรดิ (Imperial Tea) ของเมืองจีน ใบชามีความ delicate มาก สีเขียวอ่อน ใบละเอียด แลดูคล้ายยอดอ่อนของใบหญ้าที่โผลพ้นขึ้นมาหลังฝนห่าใหญ่ ใบชามีกลิ่นหอมของสัปปะรดอย่างน่าประหลาด น้ำชามีสีเขียวอ่อนใส

อ่านต่อ

Japanese Antiquarian Books about Tea 御茶に関する和古書

หนังสือเกี่ยวกับชาญี่ปุ่นครับ บางเล่มอายุเก่าเป็นร้อยปี ตัวอักษรคันจิที่เขียนยังเป็นแบบเก่า ไม่เหมือนตัวคันจิที่ใช้กันในญี่ปุ่นปัจจุบัน สังเกตว่าหนังสือเกี่ยวกับชาที่มีในภาษาอังกฤษ พออ่านไปเรื่อยๆเนื้อหาก็มักจะวนไปวนมา พอย้อนกลับมาดูหนังสือของเอเชีย โดยเฉพาะญี่ปุ่นกับจีน

อ่านต่อ